ภาษาเวียดนาม (Tiếng Việt, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาษา การแปล - ภาษาเวียดนาม (Tiếng Việt, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาษา ไทย วิธีการพูด

ภาษาเวียดนาม (Tiếng Việt, Việt ngữ)

ภาษาเวียดนาม (Tiếng Việt, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึง 87% รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีน และเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็น ภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่า ของภาษา ที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "อักษรจื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์ตระกูลภาษา[แก้]
ภาษาเวียดนามจัดอยู่ในสาขาเหวียด-เหมื่อง (Viet-Muong) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร (Mon-Khmer) หรือตระกูลออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic) ประกอบด้วยภาษาเขมร ภาษามอญ ภาษามุนดา เป็นต้น แต่นักภาษาศาสตร์บางส่วนเห็นว่าควรจัดภาษาเวียดนามให้เป็นอีกสาขาหนึ่ง แยกจากภาษามอญ-เขมร

สำเนียงท้องถิ่น[แก้]
ภาษาเวียดนามมีสำเสียงท้องถิ่นที่หลากหลาย แต่โดยมากถือว่ามี 3 หลัก ดังนี้

ถิ่นหลัก ท้องถิ่น ชื่อในยุคอาณานิคมของฝรั่งเศส
เวียดนามตอนเหนือ ถิ่นฮานอย, ถิ่นอื่นทางเหนือ: ไฮฟอง และถิ่นระดับจังหวัดจำนวนมาก ตังเกี๋ย
เวียดนามตอนกลาง ถิ่นเว้, ถิ่นเหงะอาน, ถิ่นกว๋างนาม อันนัมสูง
เวียดนามตอนใต้ ถิ่นไซ่ง่อน, ถิ่นแม่น้ำโขง (ตะวันตกไกล) โคชินไชนา
ภาษาถิ่นเหล่านี้มีน้ำเสียง การออกเสียง และบางครั้งก็มีคำศัพท์ที่แตกต่างไปบ้าง แม้ว่าภาษาถิ่นฮเว้จะมีคำศัพท์ที่แตกต่างค่อนข้างมากจากอื่นก็ตาม วรรณยุกต์ "หอย" และ "งะ" มีความแตกต่างในภาคเหนือ แต่กลืนเป็นวรรณยุกต์เดียวกันในภาคใต้

เสียง "ch" และ "tr" นั้นออกเสียงแตกต่างกันในถิ่นใต้และกลาง แต่รวมเป็นเสียงเดียวในถิ่นเหนือ สำหรับความแตกต่างด้านไวยากรณ์นั้นไม่ปรากฏ

ระบบเสียง[แก้]
เสียงพยัญชนะ[แก้]
เสียงพยัญชนะในภาษาเวียดนามมีหน่วยเสียงตามตารางทางด้านล่าง โดยอักษรทางด้านซ้ายเป็นอักษรที่ใช้เขียนแทนหน่วยเสียงนั้น ๆ ในภาษาเวียดนาม อักษรตรงกลางเป็นสัทอักษร และด้านขวานั้นเป็นอักษรไทยที่นิยมทับศัพท์

ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
กัก ไม่ก้อง p [p] ป t [t] ต tr [tʂ~ʈ] จ ch [c~tɕ] จ c/k [k] ก
ธนิต th [tʰ] ท
ก้อง b [ɓ] บ đ [ɗ] ด d [ɟ] ซ
เสียดแทรก ไม่ก้อง ph [f] ฟ x [s] ส s [ʂ] ซ kh [x] ค h [h] ฮ
ก้อง v [v] ว gi [z] ซ r [ʐ~ɹ] ซ g/gh [ɣ] ก
นาสิก m [m] ม n [n] น nh [ɲ] ญ ng/ngh [ŋ] ง
เปิด u/o [w] ว l [l] ล y/i [j] ย
สำเนียงต่างๆของเวียดนาม
รูปแบบ ค่าเสียงอ่าน เหนือ กลางตอนเหนือ กลาง ใต้
พยัญชนะต้น x [s] ส [s] ส [s] ส [s] ส
s [ʂ] ส(ม้วนลิ้น) [ʂ] ส(ม้วนลิ้น) [ʂ] ส(ม้วนลิ้น)
ch [tɕ] จ [tɕ] จ [tɕ] จ [tɕ] จ
tr [tʂ] จ(ม้วนลิ้น) [tʂ] จ(ม้วนลิ้น) [tʂ] จ(ม้วนลิ้น)
r [z] ซ(ก้อง) [ɻ] ร(ม้วนลิ้น) [ɻ] ร(ม้วนลิ้น) [ɻ] ร(ม้วนลิ้น)
d [ɟ] กึ่ง จ กึ่ง ก (ก้อง) [j] ย [j] ย
gi [z] ซ(ก้อง)
v[1] [v] กึ่ง ฟ กึ่ง ว [v] กึ่ง ฟ กึ่ง ว
ตัวสะกด c [k] [k] ก [k] ก [k] ก
t [t] ต [t] ต
t
หลัง e [k, t] ก/ต
t
หลัง ê [t] ต [k, t] ก/ต
t
หลัง i [t] ต
ch [ʲk] จ/ก [k] ก
ng [ŋ] ง [ŋ] ง [ŋ] ง [ŋ] ง
n [n] น [n] น
n
after i, ê [n] น [n] น
nh [ʲŋ] ญ/ง [ŋ] ง
เสียงสระ[แก้]
หน้า กลาง หลัง
สูง i [i] /-ิ/ ư [ɨ/ɯ] /-ือ/ u [u] /-ู/
กลางสูง ê [e] /เ-/ ơ [əː/ɤː] /เ-อ/ ô [o] /โ-/
กลางต่ำ e [ɛ] /แ-/ â [ə/ɤ/ɜ] /เ-อะ/ o [ɔ] /-อ/
ต่ำ ă [a] /-ะ/ , a [aː] /-า/


เสียงวรรณยุกต์[แก้]
นักภาษาศาสตร์ได้ศึกษาภาษาเวียดนามและจัดให้อยู่ในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก เช่นเดียวกับภาษาเขมร ซึ่งเป็นภาษาระบบคำสองพยางค์ (Disyllable) และมีลักษณะน้ำเสียง (Register) เป็นลักษณะสำคัญของภาษา อีกทั้งเป็นภาษาที่ไม่มีระบบเสียงวรรณยุกต์ แต่ภาษาเวียดนามปัจจุบันได้พัฒนาระบบเสียงวรรณยุกต์ขึ้นใช้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ อันได้แก่ ภาษาตระกูลไท (Tai familly) ที่อยู่โดยรอบ และภาษาจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามในขณะนั้น

สระในภาษาเวียดนามนั้น ออกเสียงโดยมีวรรณยุกต์ภายใน (thanh หรือ thanh điệu) โดยวรรณยุกต์ มีความแตกต่างกันที่

ระดับเสียง
ความยาว
น้ำเสียงขึ้นลง
ความหนักแน่น
การออกเสียงคอหอย (ลักษณะเส้นเสียง)
เครื่องหมายกำกับวรรณยุกต์นั้น ปกติจะเขียนเหนือหรือใต้สระ (ส่วนใหญ่เขียนไว้เหนือสระ แต่วรรณยุกต์หนั่ง (nặng) เป็นจุดใต้สระ) วรรณยุกต์ทั้ง 6 ในภาษาถิ่นเหนือ (รวมฮานอยด้วย) มีดังนี้

ชื่อ ลักษณะ เครื่องหมาย ตัวอย่าง ตัวอย่างสระ ออกเสียง
ngang 'ระดับ' สูงระดับ ˧ (ไม่มีเครื่องหมาย) ma 'ผี' เกี่ยวกับเสียงนี้ a (วิธีใช้·ข้อมูล) อา
huyền 'แขวน' ต่ำตก ˨˩ ` mà 'แต่' เกี่ยวกับเสียงนี้ à (วิธีใช้·ข้อมูล) อ่า
sắc 'คม' สูงขึ้น ˧˥ ´ má 'แก้ม, แม่ (ถิ่นใต้) ' เกี่ยวกับเสียงนี้ á (วิธีใช้·ข้อมูล) อ๊า
hỏi 'ถาม' ต่ำขึ้น ˧˩˧ ̉ mả 'หลุมศพ, สุสาน' เกี่ยวกับเสียงนี้ ả (วิธีใช้·ข้อมูล) อ๋า
ngã 'ตก' สูงขึ้นหยุด ˧˥ˀ ˜ mã 'ม้า (จีน-เวียดนาม), รหัส' เกี่ยวกับเสียงนี้ ã (วิธีใช้·ข้อมูล) อะ-อ๊ะ
nặng 'หนัก' ต่ำตกหยุด ˧˨ˀ ̣ mạ 'สีข้าว' เกี่ยวกับเสียงนี้ ạ (วิธีใช้·ข้อมูล) อ่า*(เสียงหนัก)
ไวยากรณ์[แก้]
ภาษาเวียดนามเป็นภาษารูปคำโดดเช่นเดียวกับภาษาจีนและภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่นๆ ไวยากรณ์เน้นที่การเรียงลำดับคำและโครงสร้างประโยคมากกว่าการผันคำ แสดงการโดยการเพิ่มคำเช่นเดียวกับภาษาไทย ภาษาเวียดนามเป็นภาษาคำโดด แต่ก็มีคำสองพยางค์อยู่เป็นจำนวนมาก การเรียงคำในประโยคเป็น ประธาน-กริยา-กรรม

กาล[แก้]
ปกติแล้วไม่จำเป็นต้องแสดง โดยทั่วไปอดีตแสดงโดยคำว่า đã ปัจจุบันกาลกำลังกระทำ เติม đang อนาคตเติม sẽ

โครงสร้างแสดงหัวข้อ[แก้]
เป็นโครงสร้างประโยคที่สำคัญในภาษาเวียดนาม ตัวอย่างเช่น Toi đọc sách này rồi = ฉันอ่านหนังสือนี้แล้ว อาจเรียงประโยคใหม่เป็น Sách này thi toi đọc rồi = หนังสือนี้น่ะฉันอ่านแล้ว (thi เป็นตัวแสดงหัวข้อ)

พหูพจน์[แก้]
โดยทั่วไปไม่ต้องแสดง ถ้าแสดงจะใช้คำเติมเข้าไปในประโยค เช่น những, các, chúng

ลักษณนาม[แก้]
ภาษาเวียดนามมีคำลักษณนามใช้แสดงลักษณะของนามเช่นเดียวกับภาษาไทยและภาษาจีน เช่น con ใช้กับสัตว์ cái ใช้กับสิ่งของไม่มีชีวิต คำลักษณนามบางคำอาจใช้ร่วมกันได้ เช่น cái con

คำสรรพนาม[แก้]
คำสรรพนามในภาษาเวียดนามต่างจากภาษาอังกฤษ คือคำสรรพนามแต่ละคำไม่ได้ถูกแบ่งอย่างชัดเจนว่าเป็นบุรุษที่ 1 2 หรือ 3 ขึ้นกับผู้พูดและผู้ฟัง นอกจากนั้นยังต้องระม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ภาษาเวียดนาม (เวียดนาม เวียดนาม) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนามเป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงรวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณล้านคนและรวมถึงชาวเวียดนาม 2% 87 อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วยถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนแต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุดภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกและเดิมใช้อักษรจีนเขียน- (เท่าที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมาของภาษา 10 ภาษาเขมรคือ) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้นแต่เดิมใช้ตัวเขียนจีนเรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนามเรียกว่า "อักษรจื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสโดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์ตระกูลภาษา [แก้]ภาษาเวียดนามจัดอยู่ในสาขาเหวียด-เหมื่อง (เมืองเวียด) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร (จันทร์ห้า) หรือตระกูลออสโตรเอเชียติกประกอบด้วยภาษาเขมรภาษามุนดาเป็นต้นภาษามอญ (Austroasiatic) แต่นักภาษาศาสตร์บางส่วนเห็นว่าควรจัดภาษาเวียดนามให้เป็นอีกสาขาหนึ่งแยกจากภาษามอญ-เขมรสำเนียงท้องถิ่น [แก้]ภาษาเวียดนามมีสำเสียงท้องถิ่นที่หลากหลายแต่โดยมากถือว่ามี 3 หลักดังนี้ถิ่นหลักท้องถิ่นชื่อในยุคอาณานิคมของฝรั่งเศสเวียดนามตอนเหนือถิ่นฮานอย ถิ่นอื่นทางเหนือ: ไฮฟองและถิ่นระดับจังหวัดจำนวนมากตังเกี๋ยเวียดนามตอนกลางถิ่นเว้ ถิ่นเหงะอาน ถิ่นกว๋างนามอันนัมสูงเวียดนามตอนใต้ถิ่นไซ่ง่อน โคชินไชนาถิ่นแม่น้ำโขง (ตะวันตกไกล)ภาษาถิ่นเหล่านี้มีน้ำเสียงการออกเสียงและบางครั้งก็มีคำศัพท์ที่แตกต่างไปบ้างแม้ว่าภาษาถิ่นฮเว้จะมีคำศัพท์ที่แตกต่างค่อนข้างมากจากอื่นก็ตามวรรณยุกต์ "หอย" และ "งะ" มีความแตกต่างในภาคเหนือแต่กลืนเป็นวรรณยุกต์เดียวกันในภาคใต้เสียง "ch" "นั้นออกเสียงแตกต่างกันในถิ่นใต้และกลางแต่รวมเป็นเสียงเดียวในถิ่นเหนือ" tr สำหรับความแตกต่างด้านไวยากรณ์นั้นไม่ปรากฏและระบบเสียง [แก้]เสียงพยัญชนะ [แก้]เสียงพยัญชนะในภาษาเวียดนามมีหน่วยเสียงตามตารางทางด้านล่าง โดยอักษรทางด้านซ้ายเป็นอักษรที่ใช้เขียนแทนหน่วยเสียงนั้น ๆ ในภาษาเวียดนาม อักษรตรงกลางเป็นสัทอักษร และด้านขวานั้นเป็นอักษรไทยที่นิยมทับศัพท์ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียงกัก ไม่ก้อง p [p] ป t [t] ต tr [tʂ~ʈ] จ ch [c~tɕ] จ c/k [k] ก ธนิต th [tʰ] ท ก้อง b [ɓ] บ đ [ɗ] ด d [ɟ] ซ เสียดแทรก ไม่ก้อง ph [f] ฟ x [s] ส s [ʂ] ซ kh [x] ค h [h] ฮก้อง v [v] ว gi [z] ซ r [ʐ~ɹ] ซ g/gh [ɣ] ก นาสิก m [m] ม n [n] น nh [ɲ] ญ ng/ngh [ŋ] ง เปิด u/o [w] ว l [l] ล y/i [j] ย สำเนียงต่างๆของเวียดนามรูปแบบ ค่าเสียงอ่าน เหนือ กลางตอนเหนือ กลาง ใต้พยัญชนะต้น x สส [s] [s] [s] [s] สสs [ʂ] (ม้วนลิ้น) [ʂ] สสส (ม้วนลิ้น) [ʂ] (ม้วนลิ้น)จจ [tɕ] ch [tɕ] จ [tɕ] จ [tɕ]TR [tʂ] จจ (ม้วนลิ้น) [tʂ] (ม้วนลิ้น) [tʂ] จ (ม้วนลิ้น)r [z] ซ (ก้อง) [ɻ] รร (ม้วนลิ้น) [ɻ] (ม้วนลิ้น) [ɻ] ร (ม้วนลิ้น)d [ɟ] กึ่งกึ่งกจอาอา (ก้อง) [j] [j]GI [z] ซ (ก้อง)v [1], [v] กึ่งกึ่งวฟ [v] กึ่งกึ่งวฟC ตัวสะกด [k], [k] [k] กก [k] กt [t] [t] ตตtหลัง e [k, t] / ตกtผม หลัง [t], [k, t] ตก/ตtหลังต i [t]ch [k ʲ] / [k] กกจงง [Ŋ] เป็น [Ŋ] ง [Ŋ] ง [Ŋ]n [n] [n] น.น.nหลังจาก ê [n] [n] น.น.NH [Ŋʲ] / [Ŋ] งญงเสียงสระ [แก้] หน้ากลางหลังสูง i [i] //ิư [ɨ/ɯ] / -ือ/u [u] / - / ูกลางสูงê [e] / เ- / Matthew [ɤːə/ː] / เ-อ/ร่ม [o] / เครดิต- /Â//-แ e [ɛ] กลางต่ำ [ə/ɤ/พหูพจน์เท่านั้น] / เ- [ɔ] //o อะ-อ /[A] ăต่ำ / / ะ การ [การː] / - / าเสียงวรรณยุกต์ [แก้]นักภาษาศาสตร์ได้ศึกษาภาษาเวียดนามและจัดให้อยู่ในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก เช่นเดียวกับภาษาเขมร ซึ่งเป็นภาษาระบบคำสองพยางค์ (Disyllable) และมีลักษณะน้ำเสียง (Register) เป็นลักษณะสำคัญของภาษา อีกทั้งเป็นภาษาที่ไม่มีระบบเสียงวรรณยุกต์ แต่ภาษาเวียดนามปัจจุบันได้พัฒนาระบบเสียงวรรณยุกต์ขึ้นใช้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ อันได้แก่ ภาษาตระกูลไท (Tai familly) ที่อยู่โดยรอบ และภาษาจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามในขณะนั้นสระในภาษาเวียดนามนั้น ออกเสียงโดยมีวรรณยุกต์ภายใน (thanh หรือ thanh điệu) โดยวรรณยุกต์ มีความแตกต่างกันที่ระดับเสียงความยาวน้ำเสียงขึ้นลงความหนักแน่นการออกเสียงคอหอย (ลักษณะเส้นเสียง)เครื่องหมายกำกับวรรณยุกต์นั้น ปกติจะเขียนเหนือหรือใต้สระ (ส่วนใหญ่เขียนไว้เหนือสระ แต่วรรณยุกต์หนั่ง (nặng) เป็นจุดใต้สระ) วรรณยุกต์ทั้ง 6 ในภาษาถิ่นเหนือ (รวมฮานอยด้วย) มีดังนี้ชื่อ ลักษณะ เครื่องหมาย ตัวอย่าง ตัวอย่างสระ ออกเสียงngang 'ระดับ' สูงระดับ ˧ (ไม่มีเครื่องหมาย) ma 'ผี' เกี่ยวกับเสียงนี้ a (วิธีใช้·ข้อมูล) อาhuyền 'แขวน' ต่ำตก ˨˩ ` mà 'แต่' เกี่ยวกับเสียงนี้ à (วิธีใช้·ข้อมูล) อ่าsắc 'คม' สูงขึ้น ˧˥ ´ má 'แก้ม, แม่ (ถิ่นใต้) ' เกี่ยวกับเสียงนี้ á (วิธีใช้·ข้อมูล) อ๊าhỏi 'ถาม' ต่ำขึ้น ˧˩˧ ̉ mả 'หลุมศพ, สุสาน' เกี่ยวกับเสียงนี้ ả (วิธีใช้·ข้อมูล) อ๋าngã 'ตก' สูงขึ้นหยุด ˧˥ˀ ˜ mã 'ม้า (จีน-เวียดนาม), รหัส' เกี่ยวกับเสียงนี้ ã (วิธีใช้·ข้อมูล) อะ-อ๊ะnặng 'หนัก' ต่ำตกหยุด ˧˨ˀ ̣ mạ 'สีข้าว' เกี่ยวกับเสียงนี้ ạ (วิธีใช้·ข้อมูล) อ่า*(เสียงหนัก)ไวยากรณ์[แก้]ภาษาเวียดนามเป็นภาษารูปคำโดดเช่นเดียวกับภาษาจีนและภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่นๆ ไวยากรณ์เน้นที่การเรียงลำดับคำและโครงสร้างประโยคมากกว่าการผันคำ แสดงการโดยการเพิ่มคำเช่นเดียวกับภาษาไทย ภาษาเวียดนามเป็นภาษาคำโดด แต่ก็มีคำสองพยางค์อยู่เป็นจำนวนมาก การเรียงคำในประโยคเป็น ประธาน-กริยา-กรรมกาล[แก้]ปกติแล้วไม่จำเป็นต้องแสดง โดยทั่วไปอดีตแสดงโดยคำว่า đã ปัจจุบันกาลกำลังกระทำ เติม đang อนาคตเติม sẽโครงสร้างแสดงหัวข้อ[แก้]เป็นโครงสร้างประโยคที่สำคัญในภาษาเวียดนาม ตัวอย่างเช่น Toi đọc sách này rồi = ฉันอ่านหนังสือนี้แล้ว อาจเรียงประโยคใหม่เป็น Sách này thi toi đọc rồi = หนังสือนี้น่ะฉันอ่านแล้ว (thi เป็นตัวแสดงหัวข้อ)พหูพจน์[แก้]โดยทั่วไปไม่ต้องแสดง ถ้าแสดงจะใช้คำเติมเข้าไปในประโยค เช่น những, các, chúngลักษณนาม[แก้]ภาษาเวียดนามมีคำลักษณนามใช้แสดงลักษณะของนามเช่นเดียวกับภาษาไทยและภาษาจีน เช่น con ใช้กับสัตว์ cái ใช้กับสิ่งของไม่มีชีวิต คำลักษณนามบางคำอาจใช้ร่วมกันได้ เช่น cái con
คำสรรพนาม[แก้]
คำสรรพนามในภาษาเวียดนามต่างจากภาษาอังกฤษ คือคำสรรพนามแต่ละคำไม่ได้ถูกแบ่งอย่างชัดเจนว่าเป็นบุรุษที่ 1 2 หรือ 3 ขึ้นกับผู้พูดและผู้ฟัง นอกจากนั้นยังต้องระม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาษาเวียดนาม (เวียดนาม, ภาษาเวียดนาม) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึง 87% รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และเดิมใช้อักษรจีนเขียน ภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูด เป็นอันดับรองลงมาคือภาษาเขมร ) แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีนเรียกว่า "จื๋อญอ" เรียกว่า "อักษรจื๋อโนม"
(เวียดนาม-Muong) (เขมร) หรือตระกูลออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic) ประกอบด้วยภาษาเขมรภาษามอญภาษามุน ดาเป็นต้น แต่โดยมากถือว่ามี 3 ดังนี้หลักหลักถิ่นท้องถิ่น ถิ่นฮานอย, ถิ่นอื่นทางเหนือ: ไฮฟองมากจำนวนและจังหวัดตังถิ่นเกี๋ระดับยตอนกลางถิ่นเวียดนามเว้, ถิ่นเหงะอาน, ถิ่นว๋ากมนังสูงสุดสูงนามอันถิ่นเวียดนามไซ่ง่อนตอนใต้, ถิ่นแม่น้ำโขง (ตะวันตก ไกล) การออกเสียง วรรณยุกต์ "หอย" และ "งะ" มีความแตกต่างในภาคเหนือ "ช" และ "TR" แต่รวมเป็นเสียงเดียวในถิ่นเหนือ ๆ ในภาษาเวียดนามอักษรตรงกลางเป็น สัทอักษร ปุ่มเหงือกเพดานปลายวุฒิการอ่อนลิ้นเส้นแข็งม้วนเสียงเพดานไม่กักคุณก้อง P [P] ป T [t] ต TR [tʂ ~ ʈ] จ CH [C ~ tɕ] จ C / K [k] กธนิต TH [T] ทคุณก้อง B [ɓ] บ E [ɗ] ด d [ɟ] ซเสียดคุณก้องไม่แทรก PH [F] ฟ x [s] ส s [ʂ] ซ KH [x] ค H [h] ฮคุณก้อง V [V ] ว GI [Z] ซ R [ʐ ~ ɹ] ซกรัม / GH [ɣ] กนาสิกม [M] ม n [n] น NH [ɲ] ญ ng / เอชเอช [n] งเปิด U / o [W ] ว L [L] ล Y / i [เจ] ยสำเนียงเวียดนามต่างๆของแบบรูปกลางค่าเหนือตอนเหนือเสียงกลางอ่านใต้คุณต้นพยัญชนะ x [s] ส [s] ส [s] ส [s] สs [ ʂ] ส (ม้วนลิ้น) [ʂ] ส (ม้วนลิ้น) [ʂ] ส (ม้วนลิ้น) CH [tɕ] จ [tɕ] จ [tɕ] จ [tɕ] จTR [tʂ] จ (ม้วนลิ้น) [ tʂ] จ (ม้วนลิ้น) [tʂ] จ (ม้วนลิ้น) R [Z] ซ (ก้อง) [ɻ] ร (ม้วนลิ้น) [ɻ] ร (ม้วนลิ้น) [ɻ] ร (ม้วนลิ้น) D [ɟ ] กึ่งจกึ่งก (ก้อง) [เจ] ย [เจ] ยGI [Z] ซ (ก้อง) V [1] [V] กึ่งฟกึ่งว [V] กึ่งฟวกึ่งตัวสะกด C [เจ] [K] ก [K] ก [K] กT [t] ต [t] ตT หลัง E [K, T] ก / ตT หลังê [t] ต [K, T] ก / ตT หลังฉัน [t] ตCH [K] จ / ก [k] กNG [n] ง [n] ง [n] ง [n] งn [n] น [n] นn หลังจากที่ฉัน, e [n] น [n] นNH [n] ญ / ง [n] งเสียงสระ [แก้] หน้า: ภาพประกอบกลางหลังสูงสุดสูงฉัน [I] / - ิ / u [ɨ / ɯ] / - ือ / u [u] / - ู / กลางสูงê [E] / เ - / แมตต์ [əː / ɤː] / เ - อ / กล่อง [o] / โ - / กลางต่ำ E [ɛ] / แ - / A [ə / ɤ / ɜ] / เ - อะ / o [ɔ] / - อ / ต่ำ [A] / - ะ / เป็น [A] เช่นเดียวกับภาษาเขมรซึ่งเป็นภาษา ระบบคำสองพยางค์ (disyllable) และมีลักษณะน้ำเสียง (ลงทะเบียน) เป็นลักษณะสำคัญของภาษา อัน ได้แก่ ภาษาตระกูลไท (ไท familly) ที่อยู่โดยรอบ ออกเสียงโดยมีวรรณยุกต์ภายใน (แถบเสียงหรือ) โดยวรรณยุกต์ ปกติจะเขียนเหนือหรือใต้สระ (ส่วนใหญ่เขียนไว้เหนือสระ แต่วรรณยุกต์ หนั่ง (หนัก) เป็นจุดใต้สระ) วรรณยุกต์ทั้ง 6 ในภาษาถิ่นเหนือ (รวมฮานอยด้วย) ดังนี้มีชื่อออกเสียงลักษณะสระตัวอย่าง arrow ตัวอย่าง arrow เครื่องหมายแนวนอน 'ระดับ 'สูงระดับ˧ (ไม่มีเครื่องหมาย) MA' ผี 'เกี่ยวกับเสียงนี้ A (วิธีใช้·ข้อมูล) อาตำนาน' แขวน 'ต่ำตก˨˩ `ว่า' แต่ 'A เกี่ยวกับเสียงนี้ (วิธีใช้·ข้อมูล) อ่าตัวตน 'คม' สูงขึ้น˧˥ 'แก้ม' แก้ม, แม่ (ถิ่นใต้) 'เกี่ยวกับเสียงนี้ A (วิธีใช้·ข้อมูล) อ๊าถาม' ถาม 'ต่ำขึ้น˧˩˧̉หลุมฝังศพ' หลุมศพ, สุสาน 'เกี่ยวกับเสียง นี้อาหรับ (วิธีใช้·ข้อมูล) อ๋าลง 'ตก' สูงขึ้นหยุด˧˥ˀ ~ รหัส 'ม้า (จีน - เวียดนาม) รหัส' A เกี่ยวกับเสียงนี้ (วิธีใช้·ข้อมูล) อะ - อ๊ะหนัก 'หนัก' ต่ำ เรื่องเต็มตกหยุด˧˨ˀชุบ 'สีข้าว' คุณชายเกี่ยวกับเสียงนี้ (วิธีใช้·ข้อมูล) ภาษาเวียดนามเป็นภาษาคำโดด การเรียงคำในประโยคเป็น โดยทั่วไปอดีตแสดงโดยคำว่ามีปัจจุบันกาลกำลังกระทำเติมมีอนาคตเติม Toi ตัวอย่างเช่นที่อ่านข้อความนี้แล้ว = ฉันอ่านหนังสือนี้แล้วอาจเรียงประโยค ใหม่เป็น หนังสือเล่มนี้ผมอ่านมัน = หนังสือนี้น่ะฉันอ่านแล้ว (ตรวจสอบ ถ้าแสดงจะใช้คำเติมเข้าไปใน ประโยคเช่น ที่, เช่นใช้กับสัตว์ใช้กับสิ่งของไม่มีชีวิตคำลักษณนามบาง คำอาจใช้ร่วมกันได้เช่น 1 2 3 หรือขึ้นกับผู้พูดและผู้ฟังนอกจาก นั้นยังต้องระม



























































































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: