การเคี่ยว และ การปั่นน้ำตาลทรายดิบขบวนการเคี่ยวน้ำตาลเป็นกระบวนการตกผล การแปล - การเคี่ยว และ การปั่นน้ำตาลทรายดิบขบวนการเคี่ยวน้ำตาลเป็นกระบวนการตกผล ไทย วิธีการพูด

การเคี่ยว และ การปั่นน้ำตาลทรายดิบข

การเคี่ยว และ การปั่นน้ำตาลทรายดิบ
ขบวนการเคี่ยวน้ำตาลเป็นกระบวนการตกผลึกน้ำตาลเพื่อแยกน้ำตาลออกจากน้ำเชื่อม หลักการเคี่ยวน้ำตาลจะอาศัยการแลกเปลี่ยนความร้อนของไอน้ำกับน้ำเชื่อมโดยผ่านท่อสแตนเลสและควบคุมอุณหภูมิจุดเดือดของน้ำตาลให้ต่ำกว่าจุดเดือดของบรรยากาศ คือให้ภายในหม้อเคี่ยวมีสภาพเป็นสุญญากาศที่ 26-28 นิ้วของปรอท ซึ่งจะทำให้จุดเดือด ของน้ำตาลในหม้อเคี่ยวมีค่าประมาณ 60-65 องศาเซนติเกรดทางโรงงานจัดระบบการเคี่ยวเป็น 2 ชนิด โดยชนิดแรกเป็นการเคี่ยวน้ำตาลทรายดิบ ส่วนชนิดที่ 2 จะเป็นการเคี่ยวน้ำตาลทรายขาวและน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ การเคี่ยวน้ำตาลทรายดิบจะจัดระบบการเคี่ยว เป็นแบบ 2 ระบบครึ่ง (Two Boiling and A Half System) คือ A-C, B-C การเคี่ยวครั้งแรก(หม้อเคี่ยว A) จะส่งน้ำเชื่อมเข้าหม้อเคี่ยวเพื่อระเหยน้ำจนน้ำเชื่อมถึงจุดอิ่มตัวที่น้ำเชื่อมจะตกผลึกก็ส่งเชื้อ (Seed Magma) เข้าเพื่อเลี้ยงผลึกให้โตขึ้นและจะเลี้ยงผลึกจนได้ขนาดเม็ดตามต้องการ ควบคุมค่าความข้นประมาณ 92-93 บริกซ์ น้ำตาลที่ได้ในลักษณะนี้เรียกว่า เอแมสสิคิท(A-Massecuite)ในแมสสิคิทนั้น จะประกอบด้วยน้ำเลี้ยงผลึก (Mother Liquor) และผลึกน้ำตาลจากนั้นจะนำแมสสิคิท ลงพักในรางกวน (Crystallizer) เพื่อรอการปั่นแยกน้ำตาลและน้ำเลี้ยงผลึกออกจากกัน น้ำเลี้ยงผลึกหลังจากที่ปั่นแยกแล้วเรียกว่า น้ำเหลือง (Molasses) ผลึกน้ำตาลที่แยกออกมาได้จัดเป็นน้ำตาลที่มีความหวานสูงซึ่งจะนำเข้าระบบผลิตน้ำตาลรีไฟน์และทรายขาวต่อไป ในน้ำเหลืองที่ได้นี้ยังมีความหวานสูงพอที่จะนำมาทำให้ตกผลึกได้อีก จึงได้ปั๊มส่งเข้าสู่ขบวนการเคี่ยวเพื่อเคี่ยวน้ำตาลบี (B-Massecuite) การเคี่ยวน้ำตาลบีครั้งแรกจะนำน้ำเชื่อมส่งเข้าหม้อเคี่ยวก่อนเพื่อระเหยน้ำจนถึงจุดอิ่มตัวแล้วป้อนเข้าเชื้อ (Seed Magma) แล้วเคี่ยวน้ำเชื่อมจนเต็มหม้อเรียกว่าเชื้อ B จากนั้นก็แบ่งเป็น 2 ส่วนเพื่อส่งให้หม้อเคี่ยว เคี่ยวเป็นน้ำตาล B โดยเปิดน้ำเหลืองเลี้ยงจนเต็มหม้อควบคุมค่าความข้นประมาณ 93-94 บริกซ์ น้ำตาลที่ในลักษณะที่เรียกว่า B แมสวควิท (C-Massecuite) ควบคุมค่าความข้นประมาณ 93-94 บริกซ์จึงปล่อยลงพักในรางกวนเพื่อเตรียมปั่นแยกเม็ดน้ำตาลและโมลาสออกจากกันน้ำตาลที่ได้ออกมาจัดเป็น น้ำตาลทรายดิบที่จะส่งขายต่างประเทศต่อไป โมลาสที่ได้ยังมีความหวานสามารถที่จะนำมาทำให้ตกผลึกได้จึงนำมาใช้เคี่ยวเป็นน้ำตาลซี(C-Massecuite) การเคี่ยวน้ำตาลซีหรือน้ำตาลเกรดต่ำ จัดว่าเป็นการเคี่ยวขั้นสุดท้าย และในขั้นตอนนี้จะต้องหาวิธีที่จะทำให้ผลึกน้ำตาลตกผลึกมากที่สุด เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตในขั้นตอนการเคี่ยวนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนในตอนแรกจะเคี่ยวเป็นเชื้อ (Seed) ก่อน โดยนำน้ำเชื่อมที่ส่งมาจากหม้อต้มเคี่ยวจนได้น้ำเชื่อม ที่มีจุดอิ่มตัวยิ่งยวด หลังจากนั้นนำน้ำตาลบดละเอียดใส่เข้าในหม้อเคี่ยวเพื่อเลี้ยงผลึกให้โตจากนั้นจะเลี้ยงต่อด้วยโมลาสเอ จนได้ระดับที่กำหนดไว้การเคี่ยวน้ำตาลในช่วงนี้เรียกว่าการเคี่ยวเชื้อซีจะทำการแบ่งเป็น 2 หรือ 3 ส่วน เข้าหม้อเคี่ยวเพื่อเคี่ยวน้ำตาลซี (C-Massecuite) ต่อไป หลังจากที่ได้แบ่งเชื้อน้ำตาลซีเข้าหม้อเคี่ยวเรียบร้อยก็จะนำโมลาสบีเลี้ยงผลึกต่อจนได้ระดับความข้นประมาณ 97-98 บริกซ์ จากนั้นจะปล่อยน้ำตาลซี ลงพักในรางกวนตั้งให้พักตัวเป็นระยะเวลาประมาณ 24-36 ชั่วโมง จึงนำมาปั่นแยกผลึก ผลึกน้ำตาลที่ได้จะนำมาเป็นเชื้อของน้ำตาลเอและบี (Seed Magma) สำหรับกากน้ำตาลที่ได้ในครั้งนี้เรียกว่า Final Molasses หรือกากน้ำตาลสุดท้ายจะถูกปั๊มส่งไปเก็บไว้ในถังพักเพื่อเตรียมส่งจำหน่าย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การเคี่ยวและการปั่นน้ำตาลทรายดิบขบวนการเคี่ยวน้ำตาลเป็นกระบวนการตกผลึกน้ำตาลเพื่อแยกน้ำตาลออกจากน้ำเชื่อมหลักการเคี่ยวน้ำตาลจะอาศัยการแลกเปลี่ยนความร้อนของไอน้ำกับน้ำเชื่อมโดยผ่านท่อสแตนเลสและควบคุมอุณหภูมิจุดเดือดของน้ำตาลให้ต่ำกว่าจุดเดือดของบรรยากาศคือให้ภายในหม้อเคี่ยวมีสภาพเป็น26-28 สุญญากาศที่นิ้วของปรอทซึ่งจะทำให้จุดเดือดของน้ำตาลในหม้อเคี่ยวมีค่าประมาณ 60-65 องศาเซนติเกรดทางโรงงานจัดระบบการเคี่ยวเป็น 2 สิ่งโดยชนิดแรกเป็นการเคี่ยวน้ำตาลทรายดิบส่วนชนิดที่ 2 จะเป็นการเคี่ยวน้ำตาลทรายขาวและน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์การเคี่ยวน้ำตาลทรายดิบจะจัดระบบการเคี่ยวเป็นแบบ 2 ระบบครึ่ง (สองครึ่งต้มระบบ) คือ A-C, B-C การเคี่ยวครั้งแรก (หม้อเคี่ยว A) เข้าเพื่อเลี้ยงผลึกจะส่งน้ำเชื่อมเข้าหม้อเคี่ยวเพื่อระเหยน้ำจนน้ำเชื่อมถึงจุดอิ่มตัวที่น้ำเชื่อมจะตกผลึกก็ส่งเชื้อ (แมกเมล็ด)ให้โตขึ้นและจะเลี้ยงผลึกจนได้ขนาดเม็ดตามต้องการควบคุมค่าความข้นประมาณบริกซ์เอแมสสิคิทน้ำตาลที่ได้ในลักษณะนี้เรียกว่า 92-93 (A-Massecuite) ในแมสสิคิทนั้นจะประกอบด้วยน้ำเลี้ยงผลึก (แม่เหล้า) และผลึกน้ำตาลจากนั้นจะนำแมสสิคิทลงพักในรางกวน (คริสตัลlizer) เพื่อรอการปั่นแยกน้ำตาลและน้ำเลี้ยงผลึกออกจากกันน้ำเลี้ยงผลึกหลังจากที่ปั่นแยกแล้วเรียกว่าในน้ำเหลืองที่ได้นี้ยังมีความผลึกน้ำตาลที่แยกออกมาได้จัดเป็นน้ำตาลที่มีความหวานสูงซึ่งจะนำเข้าระบบผลิตน้ำตาลรีไฟน์และทรายขาวต่อไปน้ำเหลือง (กากน้ำตาล)หวานสูงพอที่จะนำมาทำให้ตกผลึกได้อีกจึงได้ปั๊มส่งเข้าสู่ขบวนการเคี่ยวเพื่อเคี่ยวน้ำตาลบี (B Massecuite) การเคี่ยวน้ำตาลบีครั้งแรกจะนำน้ำเชื่อมส่งเข้าหม้อเคี่ยวก่อนเพื่อระเหยน้ำจนถึงจุดอิ่มตัวแล้วป้อนเข้าเชื้อ (เมล็ดแมก) แล้วเคี่ยวน้ำเชื่อมจนเต็มหม้อเรียกว่าเชื้อ B จากนั้นก็แบ่งเป็นเคี่ยวเป็นน้ำตาล B โดยเปิดน้ำเหลืองเลี้ยงจนเต็มหม้อควบคุมค่าความข้นประมาณส่วนเพื่อส่งให้หม้อเคี่ยว 2, 93-94 บริกซ์น้ำตาลที่ในลักษณะที่เรียกว่า B แมสวควิท (C Massecuite) ควบคุมค่าความข้นประมาณ 93-94 บริกซ์จึงปล่อยลงพการเคี่ยวน้ำตาลซีหรือน้ำตาลเกรดตักในรางกวนเพื่อเตรียมปั่นแยกเม็ดน้ำตาลและโมลาสออกจากกันน้ำตาลที่ได้ออกมาจัดเป็นน้ำตาลทรายดิบที่จะส่งขายต่างประเทศต่อไปโมลาสที่ได้ยังมีความหวานสามารถที่จะนำมาทำให้ตกผลึกได้จึงนำมาใช้เคี่ยวเป็นน้ำตาลซี (C Massecuite)่ำจัดว่าเป็นการเคี่ยวขั้นสุดท้ายและในขั้นตอนนี้จะต้องหาวิธีที่จะทำให้ผลึกน้ำตาลตกผลึกมากที่สุดเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตในขั้นตอนการเคี่ยวนี้จะแบ่งออกเป็นก่อนโดยนำน้ำเชื่อมที่ส่งมาจากหขั้นตอนในตอนแรกจะเคี่ยวเป็นเชื้อ (เมล็ด) 2ม้อต้มเคี่ยวจนได้น้ำเชื่อมที่มีจุดอิ่มตัวยิ่งยวดหลังจากนั้นนำน้ำตาลบดละเอียดใส่เข้าในหม้อเคี่ยวเพื่อเลี้ยงผลึกให้โตจากนั้นจะเลี้ยงต่อด้วยโมลาสเอจนได้ระดับที่กำหนดไว้การเคี่ยวน้ำตาลในช่วงนี้เรียกว่าการเคี่ยวเชื้อซีจะทำการแบ่งเป็น 2 หรือ 3 ส่วนเข้าหม้อเคี่ยวเพื่อเคี่ยวน้ำตาลซี (C Massecuite) ต่อไปหลังจากที่ได้แบ่งเชื้อน้ำตาลซีเข้าหม้อเคี่ยวเรียบร้อยก็จะนำโมลาสบีเลี้ยงผลึกต่อจนได้ระดับความข้นประมาณบริกซ์ลงพักในรางกวนตั้งให้พักตัวเป็นระยะเวลาประมาณจากนั้นจะปล่อยน้ำตาลซี 98 97-24-36 ชั่วโมงจึงนำมาปั่นแยกผลึกผลึกน้ำตาลที่ได้จะนำมาเป็นเชื้อของน้ำตาลเอและบี (เมล็ดแมก) สำหรับกากน้ำตาลที่ได้ในครั้งนี้เรียกว่าสุดท้ายน้ำตาลหรือกากน้ำตาลสุดท้ายจะถูกปั๊มส่งไปเก็บไว้ในถังพักเพื่อเตรียมส่งจำหน่าย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การเคี่ยวและ
26-28 นิ้วของปรอทซึ่งจะทำให้จุดเดือดของ น้ำตาลในหม้อเคี่ยวมีค่าประมาณ 60-65 2 ชนิด ส่วนชนิดที่ 2 ระบบครึ่งเป็นแบบ 2 (สองและครึ่งระบบจุดเดือด) คือ AC, BC การเคี่ยวครั้งแรก (หม้อเคี่ยว A) (เมล็ดแม็กม่า) ควบคุมค่าความข้นประมาณ 92-93 บริกซ์น้ำตาลที่ได้ในลักษณะ นี้เรียกว่าเอแมสสิคิท (A-Massecuite) ในแมสสิคิทนั้นจะประกอบด้วย น้ำเลี้ยงผลึก (แม่เหล้า) และผลึกน้ำตาลจากนั้นจะนำ แมสสิคิทลงพักในราง กวน (Crystallizer) น้ำเหลือง (กากน้ำตาล) (B-Massecuite) (เมล็ดแม็กม่า) B จากนั้นก็แบ่งเป็น 2 ส่วนเพื่อส่งให้หม้อเคี่ยวเคี่ยวเป็น น้ำตาล B 93-94 บริกซ์น้ำตาลที่ในลักษณะที่ เรียกว่า บีแมสวควิท (C-Massecuite) ควบคุมค่าความข้นประมาณ 93-94 จัดว่าเป็นการเคี่ยวขั้นสุดท้าย 2 ขั้นตอนในตอนแรกจะเคี่ยวเป็น เชื้อ (เมล็ด) ก่อน ที่มีจุดอิ่มตัวยิ่งยวด 2 หรือ 3 ส่วนเข้าหม้อเคี่ยวเพื่อเคี่ยวน้ำตาลซี (C-Massecuite) ต่อไป 97-98 บริกซ์จากนั้นจะปล่อยน้ำตาล ซี 24-36 ชั่วโมงจึงนำมาปั่นแยกผลึก (เมล็ดแม็กม่า) กากน้ำตาลรอบชิงชนะเลิศ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: